จะดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจากการเล่นสล็อตpg อย่างไร บทความนี้มีคำตอบ!
ในปัจจุบันสังคมไทยเผชิญปัญหาผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามากขึ้นทุกปี และผู้ป่วยก็มีอายุน้อยลงเรื่อยๆ ในความจริงแล้วโรคซึมเศร้าไม่ใช่เรื่องใหม่ในสังคมโลก แต่ในสังคมไทยเพิ่งได้รับการใส่ใจมากขึ้นเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา สาเหตุเพราะประชาชนได้รู้ตัวว่ามีอาการป่วยเป็นโรคซึมเศร้า และสังคมยอมรับว่าการเป็นโรคซึมเศร้าไม่ใช่คนบ้า
วันนี้ Lucabetkub จะมาบอกถึงวิธีการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้าให้กับนักทดลองเล่น สล็อต pg ที่อาจจะมีคนรอบข้างกำลังเผชิญปัญหาทางด้านจิตใจ และบอกแนวทางว่าเราควรให้กำลังใจเขาอย่างไร สิ่งไหนควรทำ และสิ่งไหนไม่ควรทำกันค่ะ
[ez-toc]
รู้จักโรคซึมเศร้า
ก่อนอื่นที่เราจะไปดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้ เราต้องทราบก่อนว่าโรคนี้คืออะไร โรคซึมเศร้า คือ สภาวะจิตใจที่หดหู่ หม่นหมอง และมีความรู้สึกท้อแท้ มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่าร่วมด้วย โดยจะมีอาการต่อเนื่องนานมากกว่า 2 สัปดาห์ จนถึง 1 เดือนขึ้นไป โดยไม่มีท่าทีว่าจะดีขึ้น
ข้อแตกต่างระหว่างโรคซึมเศร้ากับอาการเครียด
บางทีเราอาจจะเกิดความสงสัยว่า หรือเป็นเพราะเขาเครียดเกินไปหรือเปล่า จึงดูเหมือนเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งทั้งสองอย่างนี้จะมีความแตกต่างกันอยู่ค่ะ ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดได้โดยมีสิ่งกระตุ้นหรือไม่มีก็ได้ แตกต่างจากภาวะเครียดที่จะมีสิ่งกระตุ้นที่ทำให้รู้สึกเครียด กังวล นำมาก่อนเป็นส่วนใหญ่ และหากรู้สึกมีอาการหรือสงสัยว่าจะเป็นภาวะซึมเศร้า ให้รีบปรึกษาจิตแพทย์โดยด่วนที่สุดค่ะ
สาเหตุของโรคซึมเศร้า
-
ความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง
-
พันธุกรรม
-
เหตุการณ์สิ่งกระตุ้นที่ทำให้เครียด
-
โรคทางกายภาพและยาบางชนิด
อาการของโรคซึมเศร้า
-
ด้านอารมณ์ รู้สึกท้อแท้ อ่อนไหว เบื่อหน่ายกับสิ่งรอบข้าง ไม่มีความสุขหรือสนุกกับกิจกรรมที่ทำอยู่ประจำทุกวัน และผู้ป่วยบางรายมีอาการหงุดหงิด ฉุนเฉียวง่ายมากขึ้น
-
ด้านความคิด เริ่มมองสิ่งต่างๆ รอบตัวในแง่ร้ายมากกว่าความเป็นจริง อาจมีความคิดฆ่าตัวตาย ไม่อยากมีชีวิตอยู่ ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้ารุนแรงมากๆ
-
ด้านความจำ เริ่มไม่สามารถจดจ่อกับงานหรือสิ่งที่ทำได้ หลงลืมบ่อยๆ ทำงานผิดๆ ถูกๆ จนกระทบกับการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น สอบไม่ผ่าน ถูกให้ออกจากงาน
-
ด้านร่างกาย รู้สึกอ่อนเพลียง่าย เบื่ออาหาร หรือกินมากขึ้น นอนหลับยาก หรือนอนมากกว่าปกติ
-
ด้านสังคม เริ่มแยกตัว ไม่อยากยุ่งกับใคร ไม่อยากพบเจอผู้คน และมีบุคลิกเปลี่ยนไปจนคนรอบข้างสังเกตเห็นได้ชัดเจน
วิธีรับมือเมื่อมีภาวะซึมเศร้าสำหรับผู้ป่วย หรือผู้ที่มีแนวโน้มว่ามีภาวะซึมเศร้า
- ผ่อนคลายความเครียดด้วยกิจกรรมที่ชอบ หรืองานอดิเรกที่ชอบทำ เช่น ทดลองเล่น สล็อต pg
- พยายามพูดคุยกับบุคคลใกล้ชิด หรือคนที่ไว้วางใจ แสดงความรู้สึกให้คนอื่นรับรู้ หลีกเลี่ยงการปิดบังความรู้สึก หรือเก็ลกดความรู้สึกเอาไว้คนเดียว เพราะอาจทำให้ภาวะซึมเศร้าแย่ลง
- ออกกำลังกาย 30-45 นาที ระหว่างที่เล่นสล็อตไปด้วย อย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์
- ช่วงที่มีภาวะซึมเศร้าให้หลีกเลี่ยงการตัดสินใจเรื่องสำคัญๆ ในชีวิต เพราะเป็นช่วงที่ใช้ความคิดต่างๆ ได้ไม่ตรงกับความเป็นจริง อาจมีทัศนคติเชิงลบมากกว่าปกติ ที่ทำให้ตัดสินใจได้ไม่ถูกต้อง
- หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา หรือแอลกอฮอล์ เนื่องจากมีผลวิจัยในต่างประเทศว่า สุราและแอลกอฮอล์ ส่งผลให้ผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้ามีอาการรุนแรงมากขึ้น และเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายมากขึ้น
สิ่งที่ควรทำ สำหรับผู้ดูแลหรือบุคคลรอบข้างผู้ป่วย
-
ชวนผู้ป่วยให้ลุกมาทำกิจกรรมที่ได้เคลื่อนไหว ไม่ว่าจะเป็นการเล่นกีฬา การทดลองเล่น สล็อต pg ด้วยกันอย่างสนุกสนาน ทำงานศิลปะ นอกจากจะลดโอกาสที่จะคิดฟุ้งซ่านและหดหู่แล้ว การเคลื่อนไหวร่างกายยังช่วยหลั่งสารเอ็นโดรฟิน หรือสารแห่งความสุขออกมา
-
รับฟังด้วยความตั้งใจ และท่าทีสบายๆ ไม่คะยั้นคะยอ และไม่ตัดสินใจแทน เพราะผู้ป่วยภาวะซึมเศร้ามักมีความคิดว่าตัวเองเป็นภาระให้ผู้อื่นเป็นทุนเดิม ดังนั้น การที่จะให้ผู้ป่วยพูดคุยหรือระบายความรู้สึก ต้องให้พวกเขารู้สึกก่อนว่ามีคนอยากรับฟัง และไม่กดดัน หรือตัดสินเขาจากสิ่งที่เขาพูด สร้างความไว้วางใจ และบรรยากาศสบายๆ ให้ผู้ป่วยได้เล่าสิ่งที่ตัวเองอยากพูดออกมาเต็มที่ เพราะในบางครั้งเขาอาจมีความคิดอยากทำร้ายตัวเอง หรืออยากตาย หากว่าคนรอบข้างได้มีโอกาสได้รับฟัง จะได้สามารถป้องกันเหตุร้ายที่อาจเกิดขึ้นได้ทันท่วงที
สิ่งที่ไม่ควรทำ สำหรับผู้ดูแลหรือบุคคลรอบข้างผู้ป่วย
-
อย่าบอกปัดผู้ป่วย ให้ไปเข้าวัดฟังธรรมหรือทำจิตใจให้สงบ โดยไม่อยู่เคียงข้างพวกเขา เพราะผู้ป่วยจะรู้สึกทันทีว่าไม่มีที่พึ่งพา หรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นที่น่ารำคาญ และยิ่งตีตัวออกห่าง ส่งผลให้เกิดความคิดไม่อยากมีชีวิตอยู่ได้
-
อย่าทำเป็นไม่ได้ยิน หรือไม่อยากพูดถึงเมื่อผู้ป่วยพูดถึงการอยากตาย หลายๆ คนคิดว่าการเอ่ยพูดถึงเรื่องการฆ่าตัวตายกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอาจเป็นแนวโน้มให้ผู้ป่วยอยากทำ หรือชี้โพรงให้กระรอก แต่ความเป็นจริงแล้วหากผู้ป่วยเอ่ยถึงการอยากตาย แล้วคนใกล้ตัวกลับมีท่าทีต่อต้าน หรือทำเป็นไม่สนใจเพื่อให้ผู้ป่วยเลิกคิด หรือมีคำพูดทำนองว่า “อย่าคิดมาก” หรือ “อย่าคิดอะไรบ้าๆ” จะยิ่งทำให้ผู้ป่วยรู้สึกแย่ลงอย่างมากว่าเราไม่รับฟังที่เขารู้สึกขับข้องใจ ไม่มีวันเข้าใจเขาจริงๆ
-
อย่ากดดันและเร่งรัด ถ้าผู้ป่วยอาการยังไม่ดีขึ้น ห้ามพูดหรือทำให้พวกเขารู้สึกว่า “เมื่อไหร่จะหาย” หรือ “หายได้แล้ว” เพราะผู้ป่วยจะยิ่งรู้สึกกดดัน และผิดหวัง หากอาการเพิ่งเริ่มดีขึ้น ความเครียดเหล่านี้จะยิ่งส่งผลให้จิตใจแย่ลง และอาจมีอาการหนักกว่าเดิม
คำแนะนำ : คนรอบข้างควรเข้าหาและยินดีช่วยเหลือ พร้อมรับฟังอย่างตั้งใจ เข้าใจ ไปเป็นเพื่อนเมื่อพบจิตแพทย์เสมอ หากผู้มีภาวะซึมเศร้าบอกไม่อยากมีชีวิตอยู่ หรืออยากทำร้ายตนเอง อย่าปล่อยให้อยู่คนเดียว
การรักษาโรคซึมเศร้า
การรักษาด้วยยา
- ปัจจุบันมียารักษาโรคซึมเศร้าที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้มีประสิทธิภาพ ตามลัหกษณะเฉพาะของผู้มีภาวะซึมเศร้า โดยยาเหล่านี้จะทำหน้าที่ปรับสารสื่อประสาทที่ควบคุมเรื่องอารมณ์ในสมองให้กลับมาทำงานปกติ เนื่องจากมีการค้นพบว่าโรคซึมเศร้าเกิดจากสารสื่อประสาทในสมองบางตัวทำงานน้อยเกินไป ยาจึงไปช่วยปรับให้สารสื่อประสาทนี้กลับมาทำงานตามปกติ
- ยารักษาโรคซึมเศร้าจะออกฤทธิ์ค่อนข้างช้า จะต้องทานต่อเนื่องอย่างน้อย 2-3 สัปดาห์ จึงจะเริ่มว่าอารมณ์แจ่มใสขึ้น และมักต้องใช้เวลา 4-6 สัปดาห์ ยาจึงออกฟทธิ์เต็มที่
- เมื่ออาการเริ่มกลับสู่สภาวะปกติ แพทย์จะแนะนำให้ทานยาต่ออีกอย่างน้อย 6 เดือน หรือนานกว่านั้น ตามลักษณะอาการผู้ป่วย
การรักษาด้วยวิธีจิตบำบัด
การรักษาด้วยวิธีจิตบำบัดมักจะถูกนำมาใช้ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้าระด้วยน้อยๆ ไม่รุนแรง หรือจิตแพทย์ประเมินแล้วว่ายังไม่รุนแรงถึงขั้นใช้ยา วิธีนี้ต้องใช้เวลานาน โอกาสสำเร็จจะต่ำกว่าการรักษาด้วยยา